วันพฤหัสบดีที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Jour de l'an

Le Jour de l'an[1] est le premier jour de l'année d'un calendrier donné. Par extension le terme désigne aussi les célébrations de ce premier jour.

Pour les calendriers solaires (comme le calendrier grégorien), la date du Jour de l'an est fixe d'une année sur l'autre, alors qu'elle est dite mobile dans le cas des calendriers luni-solaire (comme le calendrier chinois).

Différence entre les calendriers
Bien que les Jours de l'an tombent rarement à la même date d'un calendrier à l'autre, on remarque une relative concordance entre ceux des pays tempérés. En effet, ce qui fut interprété comme la « disparition » de la végétation durant l'hiver et sa renaissance au printemps a alimenté le mythe très répandu de la renaissance cyclique de l'année. C'est ainsi qu'un grand nombre de Jours de l'an sont fêtés entre le solstice d'hiver et l'équinoxe de printemps.

Cependant, ceci n'est nullement universel, notamment dans les pays tropicaux, où le cycle des saisons est bien moins tangible.

On peut citer en exemple l'Égypte antique, qui (bien qu'elle utilisait un calendrier civil solaire) fêtait la nouvelle année à l'arrivée annuelle de la crue du Nil. Cette crue étant due aux pluies ayant lieu loin en amont (dans les hauts plateaux), sa date était entièrement tributaire de phénomènes météorologiques. Cependant, elle intervenait généralement à la même période.

Différents calendriers avec la correspondance des dates de leur Nouvel An[1] dans le calendrier grégorien :

calendrier grégorien : 1er janvier ;
calendrier romain : 1er mars ;
calendrier julien : 1er janvier ;
25 mars, jour de l'Annonciation, adopté par l'Église jusqu'en 1563 ;
calendrier chinois : entre le 20 janvier et le 18 février ;
calendrier égyptien antique : le 19 juillet (lors de la crue du Nil) ;
calendrier persan (zoroastrien): 21 mars (solstice du printemps) ;
Calendrier républicain (révolutionnaire) : 22 septembre (1 vendémiaire), à l'Équinoxe automnal ;
Calendrier universel 1er janvier ;
Calendrier fixe 1er janvier.



Origines
Le Nouvel An est une fête d'origine païenne qui vit le jour vers 46 avant notre ère, sous l'impulsion de Jules César qui décida que le 1er janvier serait le Jour de l'an,les romains fêtaient le Nouvel An selon le calendrier julien, encore utilisé aujourd'hui par les églises orthodoxe serbes et russes. Les Romains dédiaient ce jour à Janus, dieu païen des portes et des commencements. Le mois de janvier doit son nom à Janus, qui avait deux visages : l'un vers l'avant, l'autre vers l'arrière.
En France, le Jour de l’an n’a pas toujours été le 1er janvier et la nouvelle année ne commence à cette date que depuis 1564. C’est le roi Charles IX qui, dans un édit promulgué à Roussillon le 9 août 1564, fixa le début de l’année au 1er janvier. Pour les peuples usant du calendrier solaire, le Jour de l’an a beaucoup changé au fil des siècles, au gré des Églises, des époques et des pays. En France, aux VIe et VIIe siècles, dans de nombreuses provinces, le Jour de l’an était célébré le 1er mars. Sous Charlemagne, l’année commençait à Noël. Du temps des rois capétiens, l’année débutait le jour de Pâques. En conséquence, les années étaient de longueur très variable. Cet usage fut quasi général aux XIIe et XIIIe siècles et même jusqu’au XVe dans certaines provinces. Les généalogistes des rois de France devaient donc jongler avec les dates en fonction des lieux pour raconter l’histoire car auparavant le début de l’année variait selon les provinces : à Lyon, c’était le 25 décembre, à Vienne, le 25 mars… L’édit de Charles IX mit tout le monde d’accord.
En 1622, cette mesure fut généralisée par le Pape à l’ensemble du monde catholique, notamment pour simplifier le calendrier des fêtes religieuses.

วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Cette nuit est toute particulière... C'est la venue du grand St-Nicolas...


Saint Nicolas, saint patron et protecteur des petits enfants et de la Lorraine est fêté tous les 6 décembre, surtout dans l'est de la France et dans le nord ainsi que dans de nombreux pays d'Europe.
La légende du Père Noel a été crée à partir du personnage de Saint Nicolas. C'est en quelque sorte l'ancêtre du Père Noel.

L'histoire dit que le personnage de Saint Nicolas est inspiré de Nicolas de Myre appelé également Nicolas de Bari. Il est né à Patara en Asie Mineure entre 250 et 270 après J-C. Il est mort le 6 décembre, en 345 ou en 352 dans la ville portuaire de Myre en Asie Mineure.
C'est l'un des saints les plus populaires en Grêce et dans l'Eglise Latine.
Il fût Evêque de Myre au 4ème siècle. Sa vie et ses actes sont entourés de légendes.

Après sa mort, Saint Nicolas a alimenté une multitude de légendes qui reflètent sa personnalité généreuse.
Chaque épisode de sa vie a donné lieu à lieu à un patronage ou une confrérie d'un métier ou d'une région.

C'est l'un des saints le plus souvent représenté dans l'iconographie religieuse : sur les vitraux des églises, dans les tableaux, en statue, sur les taques de cheminée, les images d'Epinal, etc... Ses légendes offraient aux imagiers une riche matière.

Saint Nicolas, dans son costume d'évêque fait équipe avec un personnage sinistre, le père Fouettard. Celui-ci, tout vêtu de noir n'a pas le beau rôle puisqu'il est chargé de distribuer les coups de trique aux garnements.

La Saint Nicolas est aussi l'occasion pour les enfants de recevoir des cadeaux trois semaines avant que le Père Noël ne passe dans les cheminées.

La veille de la Saint Nicolas, les petits enfants placent leurs souliers devant la cheminée avant d'aller se coucher. Il dépose à côté de leurs chaussures, une carotte et des sucres pour la mule du Saint Nicolas et un verre de vin pour réchauffer le grand Saint.
Depuis le XIIe siècle, on raconte que Saint Nicolas, déguisé, va de maison en maison dans la nuit du 5 au 6 décembre pour demander aux enfants s'ils ont été obéissants. Les enfants sages reçoivent des cadeaux, des friandises et les méchants reçoivent une trique donnée par le compagnon de Saint Nicolas, le Père Fouettard.


--------------------------------------------------------------------------------




De Saint Nicolas à Père Noël

Après la Réforme protestante survenue au XVIe siècle, la fête de Saint Nicolas fut abolie dans certains pays européens.
Les Hollandais conservèrent cependant cette ancienne coutume catholique. Au début du XVIIe siècle, des Hollandais émigrèrent aux États-Unis et fondèrent une colonie appelée "Nieuw Amsterdam" (en néerlandais) qui, en 1664, devint New York. En quelques décennies, cette coutume néerlandaise de fêter la Saint-Nicolas se répandit aux États-Unis. Pour les Américains, Sinter Klaas devint rapidement Santa Claus.

Après plusieurs décennies, la société chrétienne trouva plus approprié que cette "fête des enfants" soit davantage rapprochée de celle de l'enfant Jésus. Ainsi, dans les familles chrétiennes, saint Nicolas fit désormais sa tournée la nuit du 24 décembre.

En 1821, un pasteur américain, Clément Clarke Moore écrivit un conte de NOËL pour ses enfants dans lequel un personnage sympathique apparaît, le Père Noël, dans son traîneau tiré par huit rennes. Il le fit dodu, jovial et souriant, remplaça la mitre du Saint Nicolas par un bonnet, sa crosse par un sucre d'orge et le débarrassa du Père Fouettard. L'âne fut remplacé par 8 rennes fringuants.

N'oubliez que cette date du 6 décembre marque le début des festivités de Noël, à partir de demain, vous pourrez monter votre sapin et décorer toute la maison...


--------------------------------------------------------------------------------






Alors que cette nuit vous soit douce et surtout n'oubliez pas le verre de lait, les biscuits et surtout les carottes que vous déposerez au pied de la cheminée avant d'aller au lit... Le Grand St-Nicolas et son âne n'en seront que plus heureux... Et j'espère que vous vous réveillerez demain matin avec pleins de cadeaux dans la maison...

Faites de doux rêves...Elfe Lyly.

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

วันรัฐธรรมนูญ


ความหมาย

รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายว่าด้วยระเบียบการปกครองประเทศ

วันรัฐธรรมนูญ วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย


ความเป็นมา

การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทย เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ


สาเหตุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๑. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย

๒. หลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ผลอันนี้ได้กระทบมาถึงไทยด้วย พระองค์ได้แก้ไขเศรษฐกิจโดยปลดข้าราชการออก ยังความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ

๓. อิทธิพลจากตะวันตกเกี่ยวกับอุดมการทางการเมือง ทำให้กลุ่มคนหนุ่มต้องการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน

๔. รัฐบาลได้ออกกฏหมายเก็บภาษี อาทิ ภาษีโรงเรือน ภาษีที่ดิน จากราษฎร


จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการทหาร และราษฎรทั่วไปจึงทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยการปฏิวัติ มีคณะผู้รักษาการพระนครฝ่ายทหาร ซึ่งประกอบด้วยพันเอก พระยาพหลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเดช และพันเอกพระฤทธิอาคเนย์ เป็นผู้บริหารประเทศ


วันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวเรียกว่า "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว" สาระสำคัญของธรรมนูญการปกครองฉบับนี้ได้แก่ การที่กำหนดว่าอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจอธิปไตยเป็นของราษฎรทั้งหลาย การใช้อำนาจสูงสุดก็ให้มีบุคคลคณะบุคคลเป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎรดังนี้ คือ
๑. พระมหากษัตริย์

๒. สภาผู้แทนราษฎร

๓. คณะกรรมการราษฎร

๔. ศาล


ลักษณะการปกครองแม้จะเปลี่ยนระบอบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตยแต่ก็ถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ เป็นสถาบันที่ถาวรและมีการสืบราชสมบัติต่อไปในพระราชวงศ์ การปฏิบัติราชการต่างๆ จะต้องมีกรรมการราษฎรผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ โดยได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการราษฎรจึงจะใช้ได้ สถาบันที่เกิดใหม่คือ สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอำนาจทางนิติบัญญัติออกกฎหมายต่างๆ ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้แล้วจึงมีผลบังคับได้ เหตุนี้ในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สภาผู้แทนจึงเป็นสถาบันที่มีอำนาจสูงสุดในทางการเมือง ส่วนการใช้อำนาจตุลาการยังคงให้ศาลยุติธรรมที่มีอยู่แล้วพิจารณาพิพากษาคดีให้เป็นไปตามกฎหมายได้ตามเดิม


กระทั่งถึง วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร ซึ่งมีหลักการต่างกับฉบับแรกในวาระสำคัญหลายประการ อาทิได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๕ ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นประมุขไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจทางคณะรัฐมนตรี ซึ่งพระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดิน แต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทน รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติมิได้ใช้แต่เพียงอำนาจนิติบัญญัติเท่านั้น แต่มีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารแผ่นดินด้วย แต่อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนได้ หากเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐที่มีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์นั้นได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ้


รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นเครื่องกำหนดระเบียบแบบแผนของสังคม เพื่อเป็นการระลึกถึงรัฐธรรมนูญฉบับแรก อันเป็นฉบับถาวร และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย ทางราชการจึงกำหนด วันที่ ๑๐ ธันวาคมของทุกปี เป็นวันรัฐธรรมนูญ


ข้อมูลจาก : หนังสือ "วันสำคัญโครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยและแนวทางในการจัดกิจกรรม"
โดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๗

วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Armistice


An armistice is a situation where the warring parties agree to stop fighting. It is not necessarily the end of a war, but can instead be just a cease fire. It is derived from the Latin arma, meaning weapons and statium, meaning a stopping.

A truce or ceasefire usually refers to a temporary cessation of hostilities for an agreed limited time or within a limited area. A truce may be needed in order to negotiate an armistice. An armistice is a modus vivendi and is not the same as a peace treaty, which may take months or even years to agree on. The 1953 Korean War armistice [1] is a major example of an armistice which has not yet been followed by a peace treaty.

The United Nations Security Council often imposes or tries to impose cease-fire resolutions on parties in modern conflicts. Armistices are always negotiated between the parties themselves and are thus generally seen as more binding than non-mandatory UN cease-fire resolutions in modern international law.

The key aspect in an armistice is the fact that "all fighting ends with no one surrendering". This is in contrast to an unconditional surrender, which is a surrender without conditions, except for those provided by international law



Important armistices in history
The most notable armistice, and the one which is still meant when people say simply "The Armistice", is the armistice at the end of World War I, on 11 November, 1918, signed near Compiègne, France, and effective at the "eleventh hour of the eleventh day of the eleventh month." [2]

Armistice Day is still celebrated in some places on the anniversary of that armistice; alternatively 11 November, or a Sunday near to it, may still be observed as a Remembrance Day.[3]

Other armistices in history are:

Armistice of Copenhagen of 1537 ended the Danish war known as the Count's Feud.
Armistice of Stuhmsdorf of 1635 between the Polish-Lithuanian Commonwealth and Sweden.
Peace of Westphalia of 1648 that ended the Thirty Years' War.
World War I
Armistice between Russia and the Central Powers, at Brest-Litovsk, 1917 (see Treaty of Brest-Litovsk)
Armistice with Bulgaria, also known as the Armistice of Solun, September 1918
Armistice with Germany (Compiègne), 1918
Austrian-Italian Armistice of Villa Giusti ended the First World War on the Italian front in early November 1918
Armistice of Mudros Between the Ottoman Empire and the Allies, 1918
Armistice of Mudanya between Turkey, Italy, France and Britain and later Greece, 1922.
World War II
Armistice with France (Second Compiègne), 1940
Armistice of Saint Jean d'Acre between British forces in the Middle East and Vichy France forces in Syria, 1941
Armistice with Italy, 1943
Moscow Armistice, signed by Finland and the Soviet Union on 19 September, 1944 ending the Continuation War.
(Germany implemented an unconditional surrender at the end of the war, immediately prior to V-E day)
Japanese Instrument of Surrender
1949 Armistice Agreements between Israel and its neighbors Egypt, Jordan, Lebanon and Syria.[4]
Korean War Armistice, July 1953.
Armistice of Trung Gia signed by France and the Viet Minh on 20 July, 1954 ending the First Indochina War.
1962 armistice in Algeria attempted to end the Algerian War.

วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

นางนพมาศ



วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้ำนองเต็มตลิ่ง เราทั้งหลายชายหญิง สนุกกันจริง วันลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง อะแฮ่มๆ แหม...ใกล้จะถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 หรือเรียกง่ายๆ ว่า เทศกาลสำคัญหนึ่งของคนไทยแล้ว มันก็ต้องคึกคักกันหน่อย (จริงป่ะ) แต่นอกจากการลอยกระทงเพื่อขอขมาพระแม่คงคาแล้ว ยังมีการเล่นดอกไม้ไฟ พลุ หรือการแสดงต่างๆ อีกมากมาย ที่สำคัญยังมีการประกวดสาวงามหรือ "วันลอยกระทง""ประกวดนางนพมาศ" อีกด้วย อะๆ หลายคนอาจสงสัยว่านางนพมาศคือใคร มีที่ไปที่มาอย่างไร แล้วทำไมต้องเรียว่านางนพมาศ เอาเป็นว่าเราไปความรู้จักกับ "ประวัตินางนพมาศ" กันดีกว่าค่ะ...

นางนพมาศ หรือ เรวดี นพมาศ เกิดในรัชกาลพญาเลอไท กษัตริย์ที่ 4 แห่งราชวงศ์พระร่วง บิดาเป็นพราหมณ์ชื่อ โชติรัตน์ มีราชทินนามว่า พระศรีมโหสถ รับราชการในตำแหน่งปุโรหิต มารดาชื่อ เรวดี ภายหลังนางนพมาศได้ถวายตัวเข้าทำราชการในราชสำนักสมเด็จพระร่วงเจ้า สันนิษฐานว่ารับราชการในแผ่นดินพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) จนกระทั่งได้รับตำแหน่ง "ท้าวศรีจุฬาลักษณ์" พระสนมเอก

นางนพมาศได้ทำคุณงามความดีเป็นที่โปรดปรานของพระร่วงในกาลต่อมา ที่สำคัญๆ มีอยู่ 3 ครั้ง

ครั้งที่ 1 เข้าไปถวายตัวอยู่ในวังได้ห้าวัน ก็ถึงพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป (ลอยกระทง) นางได้คิดประดิษฐ์โคมลอยรูปดอกกระมุท (ดอกบัว) มีนกเกาะดอกไม้สีสวยๆ ต่างๆ กัน เป็นที่โปรดปรานของพระร่วงมาก

ครั้งที่ 2 ในเดือนห้ามีพิธีคเชนทร์ศวสนาน เป็นพิธีชุมนุมข้าราชการทุกหัวเมือง มีเจ้าประเทศราชขึ้นเฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการด้วย ในพิธีนี้พระเจ้าแผ่นดินทรงรับแขกด้วยเครื่องหมากพลู นางนพมาศได้คิดประดิษฐ์พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้งดงาม พระร่วงทรงโปรดปรานและรับสั่งว่า ต่อไปผู้ใดจะทำการมงคลก็ดี รับแขกก็ดี ให้ใช้พานหมากรูปดังนางนพมาศประดิษฐ์ขึ้น ซี่งเป็นต้นเหตุของพานขันหมากเวลาแต่งงาน ซึ่งยังคงใช้จนถึงปัจจุบัน

ครั้งที่ 3 นางได้ประดิษฐ์พนมดอกไม้ถวายพระร่วงเจ้าเพื่อใช้บูชาพระรัตนตรัย พระร่วงทรงพอพระทัยในความคิดนั้น ตรัสว่าแต่นี้ต่อไปเวลามีพิธีเข้าพรรษาจะต้องบูชาด้วยพนมดอกไม้กอบัวนี้

นางนพมาศเป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้สมญาว่า "กวีหญิงคนแรกของไทย" ดังเช่นที่เขียนไว้ว่า "ทั้งเป็นสตรี สติปัญญาก็น้อยกว่าบุรุษ แล้วก็ยังอ่อนหย่อนอายุ กำลังจะรักรูปและแต่งกาย ซึ่งอุตสาหะพากเพียร กล่าวเป็นทำเนียบไว้ ทั้งนี้เพื่อหวังจะให้สตรีอันมีประเภทเสมอด้วยตน พึงให้ทราบว่าข้าน้อยนพมาศ กระทำราชกิจในสมเด็จพระร่วยงเจ้ากรุงมหานครสุโขทัย ตั้งจิตคิดสิ่งซึ่งเป็นการควรกับเหตุ ถูกต้องพระราชอัชฌาสัยพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้ปรากฎชื่อแสียงว่าเป็นสตรีนักปราชญ์ ฉลาดในวิชาช่างอยู่ชั่วกัลปาวสาน "

นี่คือนางนพมาศ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า ผู้สามารถประดิษฐ์ความคิดได้เป็นที่น่าอัศจรรย์ จนสืบกลายมาเป็นประเพณีต่อมาอยู่ช้านาน ทั้งๆ ที่นักประวัติศาสตร์หลายท่านสงสัยว่าจะมีตัวตนอยู่จริงหรือไม่

วันพุธที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551

... อีกไม่กี่วันก็จะถึงเทศกาลปล่อยผีหลอน ๆ อย่าง "วันฮาโลวีน" คิดกันไว้บ้างรึยังเอ่ยว่าฮาโลวีนปีนี้ เราจะแต่งตัวเป็น "ผี" อะไรกันดี??? ...


หลายคนอาจจะมองว่าวันฮาโลวีน เป็นเทศกาลของต่างประเทศ ไม่ใช่เทศกาลของไทย แต่ถ้าเราจะร่วมสนุกกับเทศกาลนี้ก็คงไม่ผิดอะไรหรอกค่ะ หรือถ้ากลัวว่าจะเสียดุลต่างชาติล่ะก็ เราก็แต่งเป็น "ผีไทย" ก็ได้นี่คะ ผีไทยมีให้เลือกตั้งหลายแบบแน่ะ จะหลอนแบบไหนก็จัดไปให้เต็มที่เลย
ว่าแต่ถ้าจะพูดถึง "วันฮาโลวีน" แล้ว สิ่งนึงที่เรียกได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ "ฟักทอง" ... อืม ว่าแต่ทำไมนะ ฟักทอง เกี่ยวข้องอะไรกับวันฮาโลวีนเนี่ย???
... เรื่องราวของฟักทองกับวันฮาโลวีนนั้น มีเรื่องราวเล่ากันมาจากนิทานปรัมปราขอ​งชาวไอริชที่เล่าถึง แจ๊คจอมตืด ซึ่งเป็นนักเล่นกลจอมขี้เมา วันหนึ่งเขาหลอกล่อปีศาจขึ้นไปบนต้นไม้ และเขียนกากบาทไว้ที่โคนต้นไม้ ทำให้ปีศาจลงมาไม่ได้ จากนั้นเขาได้ทำข้อตกลงกับปีศาจ "ห้ามนำสิ่งไม่ดีมาหลอกล่อเขาอีก" แล้วเขาจะปล่อยปีศาจลงจากต้นไม้ เมื่อแจ็คตายลง เขาปฏิเสธที่จะขึ้นสวรรค์ ขณะเดียวกันปฏิเสธที่จะลงนรก ปีศาจจึงให้ถ่านที่กำลังคุแก่เขา เพื่อเอาไว้ปัดเป่าความหนาวเย็นท่ามกลางความมืดมิด และแจ็คได้นำถ่านนี้ใส่ไว้ในหัวผักกาดเทอนิพที่ถูกเจาะให้กลวง เพื่อให้ไฟลุกโชติช่วงได้นานขึ้น ชาวไอริชจึงแกะสลักหัวผักกาดเทอนิพ และใส่ไฟในด้านใน อันเป็นอีกสัญลักษณ์ของวันฮาโลวีน เพื่อระลึกถึง "การหยุดยั้งความชั่ว" Trick or Treat เพื่อส่งผลบุญให้กับญาติผู้ล่วงลับ และพิธีทางศาสนาเพื่อทำบุญวันปีใหม่ แต่เมื่อมีการฉลองฮาโลวีนในสหรัฐอเมริกา ชาวอเมริกาพบว่า ฟักทองหาง่ายกว่าหัวผักกาดมาก จึงเปลี่ยนมาใช้ฟักทองแทน หัวผักกาดจึงกลายเป็นฟักทองด้วยเหตุผลนี้เอง
นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งเรื่องเล่าที่คล้ายคลึงกันเกี่ยวกับ ซาตานกำลังจะไปรับวิญญาณของคนเจ้าเล่ห์ที่ชื่อว่าเเจ็ค (อีกแล้ว) แจ๊คจึงชวนให้ซาตานดื่มเหล้าด้วยกัน และหลอกล่อให้ซาตานแปลงร่างเป็นเหรียญเพื่อนำไปจ่ายค่าเหล้า และแจ็คก็นำเหรียญนั้นไปใส่รวมไว้กับไม้กางเขน ทำให้ซาตานแปลงกลับมาเป็นร่างเดิมไม่ได้ ซาตานจึงต้องสัญญากับเเจ๊คว่าจะไม่มายุ่งกับเขาอีกเป็นเวลาหนึ่งปี และถ้าเขาตายเมื่อไหร่ ซาตานก็ไม่มีสิทธิเอาวิญญาณของเขาไป จากนั้นหนึ่งปีผ่านไป ซาตานก็กลับมาอีก คราวนี้เเจ็คหลอกล่อให้ซาตานปีนไปเก็บแอปเปิ้ลบนต้น และแอบสลักรูปกางเขนไว้บนต้นแอปเปิ้ล ซาตานจึงลงมาไม่ได้ และถูกบังคับให้สัญญาอีกตามเคยว่าจะไม่มายุ่งกับแจ๊คไปอีกสิบปี สิบปีผ่านไปนายแจ๊คตายลงแต่สวรรค์ก็ไม่ต้อนรับเพราะเป็นคนเจ้าเล่ห์ นรกก็ไปไม่ได้เพราะดันบังคับให้ซาตานสัญญาไว้ จึงต้องกลายเป็นวิญญาณเร่ร่อนมีเพียงก้อนถ่านที่ซาตานให้ไว้คอยส่องแสงนำทาง และเพื่อรักษาถ่านให้ส่องสว่างนานที่สุด วิญญาณของนายแจ็คจึงคว้านหัวผักกาดแล้วใส่ก้อนถ่านลงไป คนไอริชจึงเรียกผีแจ็กกับตะเกียงว่า Jack of Lantern (และเพี้ยนมาเป็น Jack O'Lantern) ต่อมาเมื่อถึงวันฮัลโลวีนชาวเมืองจึงทำตะเกียงแจ็กด้วยการแกะสลักหัวผักกาดให้เป็นหน้าตาน่ากลัว นำไฟใส่ไว้ด้านในเพื่อขับไล่ผีแจ็กและวิญญาณต​่างๆ จนภายหลังก็เปลี่ยนจากการใช้หัวผักกาดมาเป็นฟ​ักทองเพราะหาได้ง่ายกว่า
อ่อ! เรื่องราวก็เป็นอย่างนี้นี่เอง แหม!แต่ว่าเมืองไทยเราไม่จำเป็นต้องหาฟักทองมาทำ​เป็น Jack O'Lantern หรอกค่ะ เพราะบ้านเราไม่มีเทศกาลฮัลโลวีนเหมือนฝรั่งเค้า เราเอาฟักทองมากินกันดีกว่า เพราะฟักทองนี้เป็นที่รวมของสารอาหารต่างๆ ที่สำคัญได้แก่ แถมยังต้านอนุมูลอิสระได้ด้วย แบบนี้นำมากินน่าจะดีกว่านะคะ

วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ระย๊อง ระยอง งง ง~






















ไปเที่ยวระยอง ฮิ มา 5555+













หนุกหนานๆๆๆ
















ปาป๊า มาม้าใจดี ^^,,

วันอาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ภาษาฝรั่งเศส




ภาษาฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Français, อังกฤษ French) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาภาษาแม่ (ฟรองโกโฟน) ประมาณ 77 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 128 ล้านคน


ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และ สหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไทย

ประวัติ
ยุคเริ่มแรกภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ กล่าวคือ เป็นภาษาที่มีต้นกำเนิดจากภาษาละตินที่พูดกันในจักรวรรดิโรมันโบราณ ก่อนหน้าที่ดินแดนที่เป็นที่ตั่งประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันจะอยู่ใต้การปกครองของโรมัน ดินแดนดังกล่าวเคยอยู่ใต้การปกครองของพวกกอล ซึ่งเป็นหนึ่งในชนชาติเซลต์ ในสมัยนั้นดินแดนประเทศฝรั่งเศสมีคนที่พูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กันหลายภาษา แม้ว่าชาวฝรั่งเศสจะชอบสืบที่มาของภาษาของตนไปถึงพวกโกล (les Gaulois) แต่มีคำในภาษาฝรั่งเศสเพียง 2,000 คำเท่านั้นที่มีที่มามาจากภาษาของพวกโกล ซึ่งโดยมากจะเป็นคำที่ใช้เป็นชื่อสถานที่ หรือเป็นคำที่มีความหมายเกี่ยวกับธรรมชาติ
หลังจากที่ชาวโรมันได้เข้ามายึดดินแดนของพวกโกล คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นก็ได้เปลี่ยนมาพูดภาษาละติน ซึ่งภาษาละตินที่พูดกันในบริเวณนี้ ไม่ใช่ภาษาละตินชั้นสูงแบบที่พูดกันในหมู่ชนชั้นสูงของกรุง
โรม แต่เป็นภาษาละตินของชาวบ้าน (vulgar latin) ที่พูดกันในหมู่พลทหาร นอกจากนี้ ภาษาละตินที่พูดกันอยู่ในฝรั่งเศสนั้น ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษากอลอยู่พอควร เนื่องจากสิ่งของบางอย่างที่ใช้กันอยู่ในกอล พวกโรมันไม่มีชื่อเรียก จึงต้องขอยืมคำในภาษาโกลมาเรียกสิ่งของเหล่านั้น เช่น les braies ซึ่งแปลว่าเครื่องแต่งกายจำพวกกางเกงของชาวโกล


ยุคอาณาจักรแฟรงก์
หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 3 เป็นต้นมา
จักรวรรดิโรมันก็เสื่อมอำนาจ ดินแดนหลายส่วนของจักรวรรดิโรมันตกอยู่ในเงื้อมมือของชนเผ่าป่าเถื่อนหลายพวก ชนเผ่าป่าเถื่อนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศฝรั่งเศสปัจจุบัน ได้แก่ ชนเผ่าแฟรงก์ที่อาศัยอยู่ทางเหนือ ชนเผ่าวิซิกอทที่อาศัยอยู่ทางใต้ ชนเผ่าเบอร์กันดีในบริเวณริมแม่น้ำโรน และชนเผ่าเอลแมนที่อาศัยอยู่บริเวณพรมแดนของประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ชนเผ่าป่าเถื่อนเหล่านี้พูดภาษาในกลุ่มภาษาเยอรมนิก สำเนียงของชนเหล่านี้ได้ส่งผลต่อภาษาละตินที่เคยพูดอยู่เดิมในฝรั่งเศส และคำจากภาษาของชนป่าเถื่อน ได้แก่ คำที่มีความหมายเกี่ยวกับยุทธวิธีในการรบ และชนชั้นทางสังคม ได้ถูกนำมาใช้ในภาษาละตินที่พูดกันอยู่ในฝรั่งเศส โดยภาษาฝรั่งเศสปัจจุบันมีคำที่มีที่มาจากคำในภาษาของชนป่าเถื่อนอยู่ราว ๆ ร้อยละ 15
ภาษาฝรั่งเศสในยุคกลาง
นักภาษาศาสตร์ได้จัดจำแนกภาษาฝรั่งเศสที่พูดกันในยุคกลางออกเป็น 3 จำพวก คือ พวกแรกคือภาษาที่เรียกกันว่า Langue d'Oïl พูดกันอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ พวกที่สองคือ Langue d'Oc ที่พูดกันอยู่ทางใต้ของประเทศ และพวกที่สามคือ Franco-Provençal ซึ่งเป็นการผสมผสานกันของสองภาษาแรก
Langue d'Oïl เป็นภาษาที่ใช้คำว่า oïl ในคำพูดว่า "ใช่" (ปัจจุบันใช้คำว่า oui) ในสมัยกลางภาษานี้จะพูดกันในตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งภาษานี้ได้พัฒนามาเป็นภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบัน
Langue d'Oc เป็นภาษาที่ใช้คำว่า oc ในคำพูดว่า "ใช่" ภาษานี้พูดกันอยู่ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสและทางเหนือของสเปน ซึ่งภาษานี้จะมีลักษณะคล้ายกับภาษาละตินมากกว่า Langue d'Oïl

ภาษาฝรั่งเศสยุคใหม่
นักวิชาการเรียกภาษาฝรั่งเศสที่พูดในช่วงก่อนหน้าปี
พ.ศ. 1843 ซึ่งก็คือภาษา Langue d'Oïl ว่าเป็นภาษาฝรั่งเศสโบราณ เอกสารฉบับแรกที่เขียนขึ้นเป็นภาษาฝรั่งเศสโบราณ คือ "คำปฏิญาณแห่งทรัสบูร์ก" (Strasbourg) ซึ่งเขียนขึ้นในปี พ.ศ. 1385
ในปี พ.ศ. 2082 พระเจ้าฟรองซัวที่ 1 ได้ออกพระราชกฎษฎีกาที่กำหนดให้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการของฝรั่งเศสแทนที่ภาษาละติน และกำหนดให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสในการบริหารราชการ ในราชสำนัก และในการพิจารณาคดีในศาล ในช่วงนี้ได้มีการปรับปรุงตัวสะกดและการออกเสียงในภาษาฝรั่งเศส นักวิชาการเรียกภาษาฝรั่งเศสในยุคนี้ว่า ภาษาฝรั่งเศสยุคกลาง ในศตวรรษที่ 17 หลังจากที่มีการกำหนดมาตรฐานภาษาฝรั่งเศสให้พูดสำเนียงเดียวกันทั่วประเทศ การปรับปรุงและการกำหนดหลักต่างๆ ของภาษา ก็ทำให้เกิดภาษาฝรั่งเศสที่เรียกกันว่าภาษาฝรั่งเศสยุคใหม่ ซึ่งพูดกันอยู่ในปัจจุบัน
ในปี พ.ศ. 2177 พระคาร์ดินัลรีเชอลีเยอ (Richelieu) ได้ก่อตั้งองค์กรที่เรียกว่า L'Académie Française (อากาเดมี ฟรองแซส หรือ วิทยสถานแห่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเปรียบได้กับราชบัณฑิตยสถานของไทย) เพื่อทำหน้าที่ดูแลรักษาภาษาฝรั่งเศสไว้ไม่ให้วิบัติ และคงภาษาฝรั่งเศสให้อยู่ในรูปแบบเดิมให้มากที่สุด หน้าที่สำคัญหน้าที่หนึ่งขององค์กรนี้ คือ การออกพจนานุกรม
ในช่วงศตวรรษที่ 17-19 ฝรั่งเศสได้มีบทบาทสำคัญในการเมืองของทวีปยุโรป และเป็นศูนย์กลางของปรัชญารู้แจ้งที่แพร่หลายกันอยู่ในสมัยนั้น ทำให้อิทธิพลของภาษาฝรั่งเศสแผ่ออกไปกว้างขวางและกลายเป็นภาษากลางของยุโรป มีบทบาทสำคัฐทางการทูต วรรณคดี และศิลปะ มหาราชในยุคนั้นสองพระองค์ คือ พระนางแคทเธอรีนมหาราชินีแห่งรัสเซีย และพระเจ้าเฟรดริกมหาราชแห่งปรัสเซีย สามารถตรัสและทรงพระอักษรเป็นภาษาฝรั่งเศสได้ดี


ภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบัน
ภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบัน ถูกแทรกซึมโดยอิทธิพลของ
ภาษาอังกฤษที่แผ่ขยายอย่างกว้างขวาง มีการนำคำภาษาอังกฤษมาใช้ปะปนกับภาษาฝรั่งเศสเดิมอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีผลเสียต่อการอนุรักษ์ภาษาฝรั่งเศส รัฐบาลได้ออกกฎหมายบางฉบับเพื่ออนุรักษ์ภาษาฝรั่งเศส โดยกำหนดให้ใช้คำจากภาษาฝรั่งเศสแท้ๆ ในโฆษณา ประกาศ และเอกสารราชการต่าง ๆ นอกจากนี้ยังกำหนดให้สถานีวิทยุทุกสถานี เปิดเพลงภาษาฝรั่งเศสอย่างน้อยร้อยละ 40 ของเพลงทั้งหมดที่เปิดในสถานีนั้น
สถานะของภาษาฝรั่งเศสในประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสกำหนดให้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการของประเทศตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2535 รัฐบาลกำหนดให้เอกสารราชการ สัญญาต่าง ๆ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การศึกษา จะต้องทำเป็นภาษาฝรั่งเศส หากจำเป็นต้องใช้คำภาษาต่างประเทศ ก็ให้ใส่คำแปลเป็นภาษาฝรั่งเศสควบคู่กันไปด้วย
อย่างไรก็ดี ทางการไม่ได้ควบคุมการใช้ภาษาในเอกสารของเอกชน และในเว็บไซต์ของเอกชน ซึ่งหากทำการควบคุมแล้ว ก็อาจขัดต่อหลักการเสรีภาพในการพูดได้
สถานะของภาษาฝรั่งเศสในประเทศแคนาดา
ร้อยละ 12 ของคนที่พูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ในโลกนี้เป็น
ชาวแคนาดา และภาษาฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในภาษาราชการสองภาษาของแคนาดา (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาอังกฤษ) กฎหมายของแคนาดากำหนดให้บริการต่างๆของรัฐบาลกลางจะต้องจัดให้เป็นสองภาษาเสมอ กฎหมายต่างๆ ที่ผ่านรัฐสภา จะต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และฉลากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่วางขายในแคนาดาจะต้องมีภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ร้อยละ 22 ของชาวแคนาดาใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ และร้อยละ 18 ของชาวแคนาดาสามารถพูดได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส
ภาษาฝรั่งเศสมีสถานะเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียวของ
รัฐควิเบก (เกเบก - Québec) มาตั้งแต่การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยภาษาฝรั่งเศส (Bill 101) ผลสำคัญข้อหนึ่งของกฎหมายฉบับนี้คือกำหนดให้เด็กในควิเบกต้องได้รับการศึกษาเป็นภาษาฝรั่งเศส ยกเว้นถ้าบิดามารดาของเด็กคนนั้นได้รับการศึกษาส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษภายในประเทศแคนาดา ซึ่งเป็นการทำลายค่านิยมของผู้อพยพที่มักส่งบุตรหลานของคนเข้าเรียนในโรงเรียนที่สอนเป็นภาษาอังกฤษ กฎหมายนี้ยังกำหนดให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสในการพิจารณาคดี โฆษณา การอภิปรายในสภา และการพิจารณาคดีในศาล ภายในควิเบก ในปี พ.ศ. 2536 กฎหมายนี้ได้รับการแก้ไข โดยอนุญาตให้เขียนป้ายสัญลักษณ์หรือโฆษณาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษได้บ้าง ตราบใดที่ยังมีภาษาฝรั่งเศสเป็นส่วนมาก นอกจากนี้ยังทำให้คนที่พูดภาษาอังกฤษแต่อาศัยในควิเบกสามารถรับบริการทางสุขภาพและบริการของรัฐเป็นภาษาอังกฤษได้
รัฐอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการควบคู่ไปกับภาษาอังกฤษ ได้แก่รัฐ
นิวบรันสวิก ยูคอนเทร์ริทอรี นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ และนูนาวุต ในรัฐออนแทรีโอ และแมนิโทบา ภาษาฝรั่งเศสไม่ได้มีสถานะเป็นภาษาราชการ แต่รัฐบาลของรัฐทั้งสองรัฐได้จัดการบริการต่าง ๆ เป็นภาษาฝรั่งเศสคู่กับภาษาอังกฤษ ในบริเวณที่มีคนที่พูดภาษาฝรั่งเศสอาศัยอยู่มาก
สถานะของภาษาฝรั่งเศสในประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ภาษาฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในภาษาราชการของ
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ภาษาอื่น ๆ ได้แก่ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี และภาษาโรมานช์
ภาษาฝรั่งเศสในโลก
ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการในประเทศต่อไปนี้


วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2551

จัดเก็บหนังสือ




วิธีจัดระเบียงหนังสือให้ง่ายต่อการใช้

· จัดเรียงตามประเภท เช่น นิยาย , สารคดี , การ์ตูน ฯลฯ
· จัดเรียงตามชื่อผู้แต่ง เพื่อที่จะให้สะดวกยิ่งขึ้นในการค้นหาก็ควรที่จะเรียงตามตัวอักษร
เรียงหนังสือให้ดูใหม่อยู่เสมอ
เรียงหนังสือตามแนวตั้ง วิธีนี้เหมาะสำหรับหนังสือปกแข็ง โดยให้นำหนังสือที่มีขนาดเท่ากันมาเรียงกันเป็นแถว ให้หันสันปกหนังสือออก หาผ้ามาคลุมสันบนของหนังสือเพื่อป้องกันฝุ่นด้วยนะจ๊ะ
เรียงหนังสือตามแนวนอน วิธีนี้เหมาะสำหรับหนังสือปกอ่อน โดยให้นำหนังสือที่มีขนาดเท่ากันมาวางทับกันในแนวนอน ให้หันสันปกออกเหมอนเดิม อย่าลืมวางกระดาษคั่นระหว่างหนังสือด้วยเพื่อป้องกันหนังสือติดกัน


วิธีรักษาหนังสือเล่มโปรดให้อยู่กับเราไปนานๆ

ห่อปก เป็นวิธีที่ต่ออายุการใช้งานหนังสือได้ดีวิธีหนึ่ง แต่ควรที่จะมีการตรวจสอบสก็อตช์เทปที่ติดอยู่ด้านในหนังสือเสมอว่ามีการละลายหรือไม่ หากมีการละลายควรที่จะแกะออกและเปลี่ยนใหม่ทันที เพื่อป้องกันคราบละลายของสก็อตช์เปื้อนหนังสือ

ใช้ที่คั่นหนังสือ ในเวลาที่อ่านหนังสือไม่จบ แทนการวางหนังสือคว่ำเพื่อป้องกันหนังสือแบะออกและหน้ากระดาษหลุดออกจากสันกาว
เก็บให้พ้นจากแสงแดด เพราะถ้าหนังสือถูกแสงแดดเป็นเวลานานจะทำให้หนังสือซีด กรอบ และชำรุดได้ง่าย
ทำความสะอาดอยู่เสมอ โดยใช้ไม้ขนไก้ปัดฝุ่นละอองที่เกาะขอบด้านบนและด้านล่างของหนังสือ หลังจากนั้นให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดอีกครั้ง ควรใช้ผ้าที่ไม่ชุบน้ำนะจ๊ะ
ควรเลือกตู้หนังสือที่มีกระจกกั้น เพื่อที่ช่วยกันฝุ่น แต่ถ้าอยากได้ตู้หนังสือที่ทำจากไม้ ควรที่จะเลือกไม้เนื้อแข็ง เพื่อช่วยป้องปลวกและแมลงอื่นๆ

วันเสาร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2551

มี 8 คำอันตราย ที่น้องๆเตรียมแอดมิชชั่น ไม่ควรเอ่ยออกมาเด็ดขาด!!



คำที่ 1. เดี๋ยวก่อนก็ได้


คำที่ 2. ช่างมันเหอะ


คำที่ 3. เอาไว้พรุ่งนี้


คำที่ 4. พอแล้วหล่ะ


คำที่ 5. เอาไว้อ่านม.6


คำที่ 6. เรายังไม่พร้อมเลย รอก่อนดีกว่า


คำที่ 7. อือๆ โอเค [เวลาเพื่อนชวนไปเที่ยว]


คำที่ 8. อือๆ ไม่เป็นไร [กรณีอ่านแล้วไม่เข้าใจ แล้วข้ามผ่านไปเลย]




***ขอบคุณที่มา เว็บDek-D




มี 8 คำอันตราย ที่น้องๆเตรียมแอดมิชชั่น ไม่ควรเอ่ยออกมาเด็ดขาด!!

วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551

เฮ้อ...เหนื่อยจัง เทอมนี้จะได้เกรดเท่าไหร่นี่ ยากชะมัดเลย


เฮ้อ...เหนื่อยจัง เทอมนี้จะได้เกรดเท่าไหร่นี่ ยากชะมัดเลย ไหนจะต้องไปทำกิจกรรมคณะอะไรก็ไม่รู้ บ้าๆบอๆ แล้วอย่างนี้เราจะรอดไหมหนิ --->นี่เป็นประโยคเด็ด ที่หลายคนในรั้วมหาวิทยาลัย รวมถึงน้องๆมัธยม ที่มักจะบ่นอยู่เสมอว่า กิจกรรมที่มีในมหาวิทยาลัย ในโรงเรียน มันมักจะมาบั่นทอนผลการเรียนของเรา น้องๆ คิดว่า เป็นความคิดที่ถูกหรือเปล่า ? ถ้าลองมองดูๆ มีนักเรียน นักศึกษา จำนวนไม่น้อยนะ ที่ทำกิจกรรมจนได้ดี อีกทั้งผลการเรียนก็ดีด้วย ทำไมเขาเหล่านั้นทำได้ล่ะ สงสัยบ้างไหม?

วันนี้ไขข้อข้องใจว่า กิจกรรมในรั้วมหาวิทยาลัย หรือโรงเรียนนั้น ทำให้ผลการเรียนไม่ดี จริงหรือไม่ พร้อมเคล็ดลับการเรียนให้ได้ดี ควบคู่ไปกับการทำกิจกรรม ^_^
จริงๆแล้ว การทำกิจกรรมในรั้วมหาวิทยาลัย หรือแม้กระทั่งในโรงเรียน นั้น เป็นสิ่งที่ดี แต่ก็ต้องเลือกดูหน่อยว่า กิจกรรมนั้น มีประโยชน์ และสำคัญไหม ไม่ใช่ว่าจะทำไปซะทุกอย่าง มันก็เกินไป จริงไหม ? ขอยก ตัวอย่าง กิจกรรม ที่ควรทำละกัน อย่าง ถ้าเป็นน้องใหม่เนี่ย กิจกรรมแรกที่จะได้ทำเลยก็คือ กิจกรรมรับน้อง หลายๆคนอาจจะกลัวว่า มันรุนแรง อันตราย แต่ขอบอกเลยว่า สมัยนี้เขารับน้องกันอย่างสร้างสรรค์แล้วครับป๋ม ไม่ต้องกลัว ขอแนะนำเลยว่ากิจกรรมรับน้องไม่ควรพลาด เพราะจะทำให้เรา ได้รู้จักเพื่อนๆ รู้จักการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย ซึ่ง ถ้าพลาดกิจกรรมนี้ไป พี่ปอว่า น่าเสียดายมากๆเลยนะ ครั้งหนึ่ง ในชีวิตเรามีแค่ครั้งเดียวนี่นา ที่จะได้ใช้ชีวิตปี 1 ถ้าไม่ซิ่วนะ ฮ่าๆ
แบ่งเวลาให้ถูก แบ่งความสำคัญว่า กิจกรรมไหนควรทำไม่ควรทำ
นอกจาก กิจกรรมรับน้องในรั้วมหาวิทยาลัยแล้ว ยังมีกิจกรรมอื่นๆมากมายที่ให้เราได้ทำกัน อย่างเช่น กิจกรรมภายในคณะ ,การแข่งขันกีฬา ซึ่งกิจกรรมพวกนี้ล้วนแล้วแต่ทำให้เรา มีประสบการณ์ การใช้ชีวิตมากขึ้น ทำให้เราได้พบสิ่งใหม่ๆ ที่สำคัญ คือ ได้เพื่อน จริงๆนะ ข้อนี้สำคัญเลย เพราะ เราจะอยู่คนเดียวในโลกไม่ได้ โดยเฉพาะการเรียนในมหาวิทยาลัย เพื่อนจะช่วยเราได้มากเลย

เอาล่ะ แล้วจะมีเคล็ดลับอย่างไร ในการทำกิจกรรม และให้ผลการเรียนของเราได้ดีด้วย ไม่ยาก สรุปมาให้แว้ว


1.แบ่งเวลาให้ถูก แบ่งความสำคัญว่า กิจกรรมไหนควรทำไม่ควรทำ
2.จัดตารางเวลา อย่างน้อย ในอาทิตย์หนึ่ง ควรมีเวลาอ่านหนังสือ สัก 3 วัน วันละ ประมาณ 1 ชั่วโมง
3.ก่อนสอบ 1 เดือน เคลียร์กิจกรรม เคลียร์งานที่ต้องทำให้เสร็จ แล้วตั้งหน้าตั้งตา อ่านหนังสือให้เต็มที่
4.ถ้าเป็นไปได้ ไม่ควรทำกิจกรรมจนดึกดื่น แต่ถ้าจำเป็นจริงๆ ก่อนหน้านั้น ควรพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะถ้าวันรุ่งขึ้นมีเรียน จะได้ไปเรียนได้ ไม่จำเป็นไม่ควรโดด ถ้าต้องโดด รีบบอกเพื่อนให้ช่วยเก็บงาน จด lecture ไว้ให้เลย อิอิ
5.จำเอาไว้ว่า “ กิจกรรม เป็นแค่ส่วนหนึ่งที่ให้ประสบการณ์ของเรา แต่สิ่งที่สำคัญที่สุด คือการเรียน เพราะมันให้อนาคตกับเรา “

วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551

RN sport day

จบแล้วกีฬาสี


เหนื่อยมาก ลำบากที่สุด
สตาฟร้องไห้ ร้องไห้ทำไม???
กร้ากๆๆ



รักสตาฟทุกคนเว่ย--*

โย่ว ว~


วันเสาร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

เริ่มทำ^^

อ๊ากส์ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ



ทำยากใช่ย่อย